-
การใช้ซอฟต์แวร์ Scliab ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมบน Arduino
ระบบควบคุมฝังตัว (embedded control systems)
ดิว.นินจา
Wednesday, July 12, 2017
First IoFC workshop ที่ ม.นเรศวร
ภาพบรรยากาศจาก workshop นอกสถานที่ครั้งแรก จัดขึ้นที่ภาควิชาพิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เนื้อหาเกี่ยวกับการอิมพลิเมนต์ตัวควบคุมป้อนกลับที่สามารถควบคุมและแสดงผลผ่านอินเทอร์เน็ต โดยอาศัย ESP8266, ซอฟต์แวร์ Scilab และ NETPIE
วิทยากรขอขอบคุณ ผศ.อนันตชัย สุวรรณาคม ผู้ติดต่อประสานงานและจัดการให้ workshop ครั้งนี้เกิดขึ้นได้และประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย
การจัด Workshop นอกสถานที่ให้กับสถานศึกษาหรือบริษัทเอกชนถือเป็นงานด้านการบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึ่งผู้สอนสามารถบริหารเวลาเพื่อดำเนินการจัดได้โดยเฉลี่ยประมาณเดือนละ 1 ครั้ง ผู้สนใจสามารถติดต่อล่วงหน้าเพื่อนัดวัน - เวลา ก่อนทำหนังสือถึงต้นสังกัด (หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลหรือคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์)
ตัวอย่างหัวข้ออื่นที่สามารถจัดอบรมได้ (เน้นการใฃ้ในงานควบคุมอุตสาหกรรม)
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
แนะนำหนังสือ “ตัวควบคุมป้อนกลับบนอินเทอร์เน็ตโดย ESP8266”
ปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) คงมีน้อยคนที่จะไม่รู้จัก ในยุคที่การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นกิจวัตรประจำวันของมนุษย์เ...
-
สำหรับระบบฝังตัวทั่วไปหรืออุปกรณ์ไอโอที วิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในการเพิ่มความฉลาดกับอุปกรณ์และความเป็นมิตรกับผู้ใช้งาน คือความสามารถในการจดจ...
-
เนื่องจาก NETPIE2020 เป็นแพลตฟอร์มใหม่ที่เพิ่งเปิดตัว ดังนั้นตัวอย่างที่แสดงบนเว็บจะเน้นการใช้งานขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะด้านการส่งคำสั่งให้กับ...
-
ในบทความนี้จะกล่าวถึงการใช้งาน Bluetooth บน ESP32 แบบธรรมดา (บางที่เรียกว่าแบบ classic) ซึ่งจะเขียนโปรแกรมง่ายกว่าแบบ BLE (Bluetooth Low En...
No comments:
Post a Comment